question
stringlengths
10
751
answer
stringlengths
3
12.6k
relevant_laws
listlengths
1
1
reference_answer
stringlengths
2
1.9k
reference_laws
listlengths
0
51
ถ้าบริษัทตามกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียมต้องใช้ความในมาตรา 65 โสฬส, มาตรา 65สัตตรส, และมาตรา 65 เอกวีสติ (14) เพื่อการปฏิบัติตามบทบัญญัติเฉพาะเขตพื้นที่พัฒนาร่วม ควรนำความในมาตราใดมาบังคับใช้แทน
ให้นำความในมาตรา 65 จตุวีสติ, มาตรา 65 ปัญจวีสติ, และมาตรา 65 ฉัพพีสติ มาใช้บังคับแทนตามลำดับ คำอธิบาย : พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 65 ทวาวีสติ ให้นำบทบัญญัติในหมวด 7 ตรีบทบัญญัติเฉพาะเขตพื้นที่พัฒนาร่วม แห่งพระราชบัญญัตินี้มาใช้บังคับแก่บริษัทตามมาตรา 65 เตวีสติ เว้นแต่ (1) บทนิยามคำว่า “ปิโตรเลียม” “บริษัท” และ “สัญญาแบ่งปันผลผลิต” ในมาตรา 65 ปัณรส ให้นำบทนิยามของคำเหล่านั้นในมาตรา65 เตวีสติ มาใช้บังคับแทน (2) ความในมาตรา 65 โสฬส มาตรา 65สัตตรส และมาตรา 65 เอกวีสติ (14) ให้นำความในมาตรา 65 จตุวีสติ มาตรา 65ปัญจวีสติ และมาตรา 65 ฉัพพีสติ มาใช้บังคับแทน ตามลำดับ
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 65 เพื่อให้ได้รับชำระเบี้ยปรับและเงินเพิ่ม ให้ถือว่าเบี้ยปรับและเงินเพิ่มตามหมวดนี้เป็นภาษี", "section_num": "65" } ]
ให้นำความในมาตรา 65 จตุวีสติ, มาตรา 65 ปัญจวีสติ, และมาตรา 65 ฉัพพีสติ มาใช้บังคับแทนตามลำดับ
[]
ตามพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม บริษัทมีความหมายว่าอย่างไร
“บริษัท” หมายความว่า บริษัทตามกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียม ซึ่ง (1)เป็นผู้รับสัญญาแบ่งปันผลผลิตหรือมีส่วนได้เสียร่วมกันในสัญญาแบ่งปันผลผลิต หรือ (2) ซื้อน้ำมันดิบที่บริษัทตาม(1) เป็นผู้ผลิต ไม่ว่าจะเป็นน้ำมันดิบส่วนที่เป็นของรัฐ หรือน้ำมันดิบส่วนใด ๆที่เป็นของผู้รับสัญญาแบ่งปันผลผลิตเพื่อส่งน้ำมันดิบนั้นทั้งหมดออกนอกราชอาณาจักร คำอธิบาย พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 65 เตวีสติ ในหมวดนี้ “บริษัท” หมายความว่า บริษัทตามกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียม ซึ่ง (1)เป็นผู้รับสัญญาแบ่งปันผลผลิตหรือมีส่วนได้เสียร่วมกันในสัญญาแบ่งปันผลผลิต หรือ (2) ซื้อน้ำมันดิบที่บริษัทตาม(1) เป็นผู้ผลิต ไม่ว่าจะเป็นน้ำมันดิบส่วนที่เป็นของรัฐ หรือน้ำมันดิบส่วนใด ๆที่เป็นของผู้รับสัญญาแบ่งปันผลผลิตเพื่อส่งน้ำมันดิบนั้นทั้งหมดออกนอกราชอาณาจักร
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 65 เพื่อให้ได้รับชำระเบี้ยปรับและเงินเพิ่ม ให้ถือว่าเบี้ยปรับและเงินเพิ่มตามหมวดนี้เป็นภาษี", "section_num": "65" } ]
“บริษัท” หมายความว่า บริษัทตามกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียม ซึ่ง (1)เป็นผู้รับสัญญาแบ่งปันผลผลิตหรือมีส่วนได้เสียร่วมกันในสัญญาแบ่งปันผลผลิต หรือ (2) ซื้อน้ำมันดิบที่บริษัทตาม(1) เป็นผู้ผลิต ไม่ว่าจะเป็นน้ำมันดิบส่วนที่เป็นของรัฐ หรือน้ำมันดิบส่วนใด ๆที่เป็นของผู้รับสัญญาแบ่งปันผลผลิตเพื่อส่งน้ำมันดิบนั้นทั้งหมดออกนอกราชอาณาจักร
[]
ตามสัญญาแบ่งปันผลผลิต บริษัทมีหน้าที่เสียภาษีเมื่อไหร่
ตามรอบระยะเวลาบัญชี ในอัตราร้อยละยี่สิบของกำไรสุทธิที่ได้จากกิจการปิโตรเลียม คำอธิบาย พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 65 จตุวีสติ ให้บริษัทมีหน้าที่เสียภาษีเงินได้เป็นรายรอบระยะเวลาบัญชีในอัตราร้อยละยี่สิบของกำไรสุทธิที่ได้จากกิจการปิโตรเลียม
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 65 เพื่อให้ได้รับชำระเบี้ยปรับและเงินเพิ่ม ให้ถือว่าเบี้ยปรับและเงินเพิ่มตามหมวดนี้เป็นภาษี", "section_num": "65" } ]
ตามรอบระยะเวลาบัญชี ในอัตราร้อยละยี่สิบของกำไรสุทธิที่ได้จากกิจการปิโตรเลียม
[]
ถ้าบริษัทผู้รับโอนจ่ายเงินได้ที่เป็นเงินค่าสิทธิ เงินปี หรือเงินได้ประจำ จากการโอนกิจการปิโตรเลียม ไม่ไม่อาจกำหนดจำนวนทั้งสิ้นได้แน่นอน จะต้องเสียภาษีในอัตราเท่าใด
ในอัตราร้อยละยี่สิบของเงินได้หลังจากหักต้นทุนออกจากเงินได้แล้ว คำอธิบาย พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 65 ปัญจวีสติ ในกรณีที่มีการโอนกิจการปิโตรเลียม ถ้าบริษัทผู้รับโอนจ่ายเงินได้ที่เป็นเงินค่าสิทธิ เงินปี หรือเงินได้ประจำเนื่องจากการโอนนั้น โดยเงินดังกล่าวไม่อาจกำหนดจำนวนทั้งสิ้นได้แน่นอน ให้บุคคลซึ่งได้รับเงินได้นั้นมีหน้าที่เสียภาษีเงินได้ในอัตราร้อยละยี่สิบของเงินได้หลังจากหักต้นทุนตามมาตรา 33 แล้ว พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 33 การหักต้นทุนจากเงินได้ตามมาตรา 21 ให้หักได้เพียงเท่าผลขาดทุนประจำปีคงเหลือตามมาตรา 28 (1) ของบริษัทผู้โอนกิจการปิโตรเลียม ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 65 เพื่อให้ได้รับชำระเบี้ยปรับและเงินเพิ่ม ให้ถือว่าเบี้ยปรับและเงินเพิ่มตามหมวดนี้เป็นภาษี", "section_num": "65" } ]
ในอัตราร้อยละยี่สิบของเงินได้หลังจากหักต้นทุนออกจากเงินได้แล้ว
[]
เมื่อบริษัทต้องคำนวณรายได้และรายจ่ายสำหรับแปลงสำรวจที่ไม่สามารถแยกกันได้อย่างชัดแจ้งตามข้อกำหนดของพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ควรดำเนินการอย่างไร
หากรายได้และรายจ่ายรายการใดไม่สามารถแยกกันได้อย่างชัดแจ้ง บริษัทให้เฉลี่ยรายได้และรายจ่ายตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง คำอธิบาย : พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 65 ฉัพพีสติ ในกรณีที่บริษัทเป็นผู้ได้รับสัมปทานหรือผู้ได้รับสัญญาแบ่งปันผลผลิต แล้วแต่กรณี สำหรับแปลงสำรวจหลายแปลง โดยแปลงสำรวจบางแปลงอยู่ภายใต้บังคับพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 ก่อนการแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2541 หรือบางแปลงอยู่ภายใต้บังคับพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ฉบับที่ 5) พ.ศ.2541 ให้บริษัทดังกล่าวคำนวณรายได้ รายจ่าย และกำไรสุทธิ สำหรับแปลงสำรวจที่อยู่ภายใต้บังคับพระราชบัญญัตินั้น ๆ และแปลงสำรวจที่อยู่ภายใต้บังคับพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2560 เสมือนหนึ่งเป็นบริษัทแยกต่างหากจากกัน การคำนวณรายได้และรายจ่ายสำหรับแปลงสำรวจตามวรรคหนึ่ง ถ้ารายได้และรายจ่ายรายการใดไม่สามารถแยกกันได้อย่างชัดแจ้ง ให้เฉลี่ยรายได้และรายจ่ายตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 65 ฉ ภายใต้บังคับมาตรา 65 สัตตและมาตรา 65 อัฏฐรายจ่ายตามปกติและจำเป็นให้จำกัดอยู่เฉพาะแต่รายจ่ายที่บริษัทสามารถพิสูจน์ได้ว่าเป็นรายจ่ายตามปกติและจำเป็นในจำนวนไม่เกินสมควรและได้จ่ายไปทั้งหมดเฉพาะในกิจการปิโตรเลียมไม่ว่าจะจ่ายในหรือนอกราชอาณาจักรและภายในข้อจำกัดดังกล่าวให้รวมถึง\n(1)ค่าเช่าหรือค่าตอบแทนอย่างอื่นในการเช่าทรัพย์สิน\n(2) ค่าแรงงาน ค่าบริการค่าวัสดุสิ้นเปลืองและรายจ่ายทำนองเดียวกันอย่างอื่นที่ใช้ในการเจาะเพื่อสำรวจหรือเพื่อผลิต\n(3) ค่ารับรอง\n(4) หนี้สูญที่จำหน่ายจากบัญชี\n(5) เงินสมทบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพหรือกองทุนบำเหน็จบำนาญ\n(6) ค่าชดเชยรายจ่ายที่เป็นทุน\n(7) ค่าภาคหลวงไม่ว่าจะชำระเป็นตัวเงินหรือปิโตรเลียม\n(8)รายจ่ายของสำนักงานใหญ่เท่าที่จัดสรรได้โดยสมควรว่าเกี่ยวกับกิจการปิโตรเลียมของบริษัท\n(9)ราคาทุนของทรัพย์สินหรือสิทธิใด ๆ ที่หักค่าชดเชยรายจ่ายที่เป็นทุนแล้วสำหรับรายได้ตามมาตรา22 (4)\n(10) ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเฉพาะที่บริษัทพิสูจน์ได้ว่าบุคคลใดเป็นผู้รับและได้หักภาษีไว้ ณ ที่จ่ายสำหรับการจ่ายดอกเบี้ยนั้นแล้วตามมาตรา 45", "section_num": "65 ฉ" } ]
หากรายได้และรายจ่ายรายการใดไม่สามารถแยกกันได้อย่างชัดแจ้ง บริษัทให้เฉลี่ยรายได้และรายจ่ายตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 45 ให้บริษัทซึ่งเป็นผู้จ่ายเงินได้ตามมาตรา 21 มีหน้าที่\n(1) หักภาษีไว้ ณ ที่จ่ายทุกคราวที่จ่ายเงินได้นั้นในอัตราตามมาตรา 21\n(2) ยื่นแบบแสดงรายการหักภาษี ณ ที่จ่าย\n(3) นำส่งภาษีที่ต้องหักตาม (1)\nการหักภาษีตาม (1) ให้คำนวณหักตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง", "section_num": "45" }, { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 65 เพื่อให้ได้รับชำระเบี้ยปรับและเงินเพิ่ม ให้ถือว่าเบี้ยปรับและเงินเพิ่มตามหมวดนี้เป็นภาษี", "section_num": "65" }, { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 22 การคำนวณกำไรสุทธิ ให้นำเอาจำนวนดังต่อไปนี้มารวมเป็นรายได้\n(1) ยอดเงินได้จากการขายปิโตรเลียม\n(2) มูลค่าของปิโตรเลียมที่จำหน่าย\n(3) มูลค่าของปิโตรเลียมที่ส่งชำระเป็นค่าภาคหลวง\n(4) ยอดเงินได้เนื่องจากการโอนทรัพย์สินหรือสิทธิใด ๆ อันเกี่ยวกับกิจการปิโตรเลียมซึ่งอาจกำหนดจำนวนทั้งสิ้นได้แน่นอน\n(5) ยอดเงินได้อื่นใดที่ได้รับเนื่องจากการประกอบกิจการปิโตรเลียม\nในกรณีการโอนสัมปทานตามมาตรา 48 แห่งพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 ยอดเงินได้เนื่องจากการโอนทรัพย์สินหรือสิทธิใด ๆ ตาม (4) ให้ถือมูลค่าตามบัญชีครั้งสุดท้ายของบริษัทผู้โอนในวันที่โอน", "section_num": "22" } ]
การนำเสนอพยานหลักฐานไม่ครบถ้วนเพื่อหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการเสียภาษี มีความผิดตาม ตามพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514
ไม่มีความผิดเนื่องจาก จะมีความผิดก็ต่อเมื่อ นำพยานหลักฐานเท็จมาแสดง เพื่อหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการเสียภาษี คำอธิบาย พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 66 ผู้ใดแจ้งข้อความอันเป็นเท็จ ให้ถ้อยคำเท็จ ตอบคำถามด้วยถ้อยคำอันเป็นเท็จ นำพยานหลักฐานเท็จมาแสดง หรือกระทำการใด ๆ เพื่อหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการเสียภาษี ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่สามเดือนถึงเจ็ดปีและปรับตั้งแต่สามพันบาทถึงสองแสนบาท
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 66 ผู้ใดแจ้งข้อความอันเป็นเท็จ ให้ถ้อยคำเท็จ ตอบคำถามด้วยถ้อยคำอันเป็นเท็จ นำพยานหลักฐานเท็จมาแสดง หรือกระทำการใด ๆ เพื่อหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการเสียภาษี ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่สามเดือนถึงเจ็ดปีและปรับตั้งแต่สามพันบาทถึงสองแสนบาท", "section_num": "66" } ]
ไม่มีความผิดเนื่องจาก จะมีความผิดก็ต่อเมื่อ นำพยานหลักฐานเท็จมาแสดง เพื่อหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการเสียภาษี
[]
บุคคลที่ไม่ยื่นแบบแสดงรายการหักภาษี ณ ที่จ่าย เพื่อหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการเสียหรือการนำส่งภาษี มีควาผิดตาทพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 หรือไม่
มีความผิดตาม พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 67 คำอธิบาย พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 67 ผู้ใดไม่ยื่นแบบแสดงรายการเงินได้ หรือแบบแสดงรายการหักภาษี ณ ที่จ่าย เพื่อหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการเสียหรือการนำส่งภาษี ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 67 ผู้ใดไม่ยื่นแบบแสดงรายการเงินได้ หรือแบบแสดงรายการหักภาษี ณ ที่จ่าย เพื่อหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการเสียหรือการนำส่งภาษี ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ", "section_num": "67" } ]
มีความผิดตาม พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 67
[]
ในกรณีฉุกเฉินอย่างยิ่ง ที่อธิบดีมีอำนาจออกคำสั่งเป็นหนังสือให้เจ้าพนักงานตรวจค้นหรือยึดบัญชี ในช่วงระยะเวลาใดก็ได้ แต่ถูกขัดขวางจากผู้ได้รับหนังสือ ถือว่าผู้มีหน้าที่เสียภาษีที่ได้รับหนังสือแจ้งมีความผิดตามพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 หรือไม่
มีความผิดตามพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 68 คำอธิบาย พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 6 ในกรณีจำเป็นเพื่อประโยชน์ในการจัดเก็บภาษี อธิบดีมีอำนาจออกคำสั่งเป็นหนังสือให้เจ้าพนักงานตรวจค้นหรือยึดบัญชี เอกสารหรือหลักฐานอื่นใดซึ่งเกี่ยวกับรายได้และรายจ่ายของกิจการปิโตรเลียมหรือซึ่งอธิบดีมีเหตุอันควรเชื่อว่าเกี่ยวกับรายได้และรายจ่ายดังกล่าว การตรวจค้นหรือยึดตามวรรคหนึ่งให้กระทำในเวลาระหว่างพระอาทิตย์ขึ้นและพระอาทิตย์ตก หรือในเวลาทำการของผู้ถูกตรวจค้นหรือถูกยึด เว้นแต่การตรวจค้นหรือยึดในเวลาดังกล่าวยังไม่แล้วเสร็จ จะกระทำต่อไปก็ได้ หรือในกรณีฉุกเฉินอย่างยิ่ง อธิบดีจะออกคำสั่งให้ตรวจค้นหรือยึดในเวลาใด ๆ ก็ได้
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 68 ผู้ใดไม่อำนวยความสะดวกหรือขัดขวางเจ้าพนักงานซึ่งกระทำการตามหน้าที่ตามมาตรา 6 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ", "section_num": "68" } ]
มีความผิดตามพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 68
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 6 ในกรณีจำเป็นเพื่อประโยชน์ในการจัดเก็บภาษี อธิบดีมีอำนาจออกคำสั่งเป็นหนังสือให้เจ้าพนักงานตรวจค้นหรือยึดบัญชี เอกสารหรือหลักฐานอื่นใดซึ่งเกี่ยวกับรายได้และรายจ่ายของกิจการปิโตรเลียมหรือซึ่งอธิบดีมีเหตุอันควรเชื่อว่าเกี่ยวกับรายได้และรายจ่ายดังกล่าว\nการตรวจค้นหรือยึดตามวรรคหนึ่งให้กระทำในเวลาระหว่างพระอาทิตย์ขึ้นและพระอาทิตย์ตก หรือในเวลาทำการของผู้ถูกตรวจค้นหรือถูกยึด เว้นแต่การตรวจค้นหรือยึดในเวลาดังกล่าวยังไม่แล้วเสร็จ จะกระทำต่อไปก็ได้ หรือในกรณีฉุกเฉินอย่างยิ่ง อธิบดีจะออกคำสั่งให้ตรวจค้นหรือยึดในเวลาใด ๆ ก็ได้", "section_num": "6" } ]
บริษัทที่ได้รับหนังสือจากอธิบดีให้นำญชี หลักฐาน รายงาน หรือแจ้งข้อความใด ๆ ซึ่งเกี่ยวกับ หรือซึ่งอธิบดีมีเหตุอันควรเชื่อว่าเกี่ยวกับกิจการปิโตรเลียมของบริษัท มาแสดง แต่นำมาภายหลังกรอบระยะเวลาที่อธิบดีกำหนด ถือว่ามีความผิดตามพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 หรือไม่
มีความผิดตามพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 69 คำอธิบาย พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 69 ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของอธิบดีตามมาตรา 7 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 7 ในกรณีจำเป็นเพื่อประโยชน์ในการจัดเก็บภาษี อธิบดีมีอำนาจออกคำสั่งเป็นหนังสือให้บริษัทแสดงบัญชี หลักฐาน รายงาน หรือแจ้งข้อความใด ๆ ซึ่งเกี่ยวกับ หรือซึ่งอธิบดีมีเหตุอันควรเชื่อว่าเกี่ยวกับกิจการปิโตรเลียมของบริษัท คำสั่งตามวรรคหนึ่งจะให้ปฏิบัติก่อนรอบระยะเวลาบัญชีแรกของบริษัทก็ได้
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 69 ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของอธิบดีตามมาตรา 7 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ", "section_num": "69" } ]
มีความผิดตามพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 69
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 7 ในกรณีจำเป็นเพื่อประโยชน์ในการจัดเก็บภาษี อธิบดีมีอำนาจออกคำสั่งเป็นหนังสือให้บริษัทแสดงบัญชี หลักฐาน รายงาน หรือแจ้งข้อความใด ๆ ซึ่งเกี่ยวกับ หรือซึ่งอธิบดีมีเหตุอันควรเชื่อว่าเกี่ยวกับกิจการปิโตรเลียมของบริษัท\nคำสั่งตามวรรคหนึ่งจะให้ปฏิบัติก่อนรอบระยะเวลาบัญชีแรกของบริษัทก็ได้", "section_num": "7" } ]
ในกรณีที่อธิบดีหรือเจ้าพนักงานประเมินมีอำนาจสั่งให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีตามพระราชบัญญัตินี้จัดการแปลบรรดาบัญชี หลักฐาน รายงานเป็นภาษาไทย และนำส่ง แต่ผู้มีหน้าที่เสียภาษีนำส่งเอกสารเป็นภาษาต่างประเทศที่ยังไม่มีการแปลภายในระยะเวลาทื่กำหนด ถือว่ามีควาผิดตามพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 หรือไม่
มีความผิดตามพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 70 คำอธิบาย พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 70 ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของอธิบดีหรือเจ้าพนักงานประเมินตามมาตรา 9 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 9 บรรดาบัญชี หลักฐาน รายงาน และเอกสารต่าง ๆ ซึ่งเกี่ยวกับ หรือซึ่งอธิบดีหรือเจ้าพนักงานประเมินมีเหตุอันควรเชื่อว่าเกี่ยวกับรายได้และรายจ่ายของกิจการปิโตรเลียม ถ้าทำเป็นภาษาต่างประเทศ อธิบดีหรือเจ้าพนักงานประเมินมีอำนาจสั่งให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีตามพระราชบัญญัตินี้จัดการแปลเป็นภาษาไทยให้เสร็จภายในเวลาอันสมควรได้
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 70 ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของอธิบดีหรือเจ้าพนักงานประเมินตามมาตรา 9 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ", "section_num": "70" } ]
มีความผิดตามพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 70
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 9 บรรดาบัญชี หลักฐาน รายงาน และเอกสารต่าง ๆ ซึ่งเกี่ยวกับ หรือซึ่งอธิบดีหรือเจ้าพนักงานประเมินมีเหตุอันควรเชื่อว่าเกี่ยวกับรายได้และรายจ่ายของกิจการปิโตรเลียม ถ้าทำเป็นภาษาต่างประเทศ อธิบดีหรือเจ้าพนักงานประเมินมีอำนาจสั่งให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีตามพระราชบัญญัตินี้จัดการแปลเป็นภาษาไทยให้เสร็จภายในเวลาอันสมควรได้", "section_num": "9" } ]
ในกรณีใดที่เจ้าพนักงานโดยหน้าที่ราชการได้รู้เรื่องกิจการของผู้เสียภาษี หรือของผู้อื่นที่เกี่ยวข้อง และนำข้อมูลดังกล่าวไปบอกกล่าวกับบุคคลภายนอก ไม่ถือว่ามีความผิดตามพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514
กรณีที่เจ้าพนักงานโดยหน้าที่ราชการได้รู้เรื่องกิจการของผู้เสียภาษี หรือของผู้อื่นที่เกี่ยวข้องมีอำนาจที่จะทำได้โดยชอบด้วยกฎหมาย คำอธิบาย พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 11 เจ้าพนักงานผู้ใดโดยหน้าที่ราชการได้รู้เรื่องกิจการของผู้เสียภาษี หรือของผู้อื่นที่เกี่ยวข้อง ห้ามมิให้นำออกแจ้งแก่ผู้ใดหรือทำให้เป็นที่ล่วงรู้แก่ผู้อื่นโดยวิธีใด ๆ เว้นแต่จะมีอำนาจที่จะทำได้โดยชอบด้วยกฎหมาย
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 71 เจ้าพนักงานผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 11 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ", "section_num": "71" } ]
กรณีที่เจ้าพนักงานโดยหน้าที่ราชการได้รู้เรื่องกิจการของผู้เสียภาษี หรือของผู้อื่นที่เกี่ยวข้องมีอำนาจที่จะทำได้โดยชอบด้วยกฎหมาย
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 11 เจ้าพนักงานผู้ใดโดยหน้าที่ราชการได้รู้เรื่องกิจการของผู้เสียภาษี หรือของผู้อื่นที่เกี่ยวข้อง ห้ามมิให้นำออกแจ้งแก่ผู้ใดหรือทำให้เป็นที่ล่วงรู้แก่ผู้อื่นโดยวิธีใด ๆ เว้นแต่จะมีอำนาจที่จะทำได้โดยชอบด้วยกฎหมาย", "section_num": "11" } ]
เอกสารใดตามพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 ที่บังคับให้ผู้เสียภาษีหรือผู้ทำการแทนทำตามระเบียบหรือข้อบังคับ มิเช่นนั้นถือว่ามีความผิดตามพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 หรือไม่
บัญชี หลักฐาน รายงาน หรือทำการใด ๆ ตามความจำเป็นเพื่อประโยชน์ในการจัดเก็บและการเสียภาษี คำอธิบาย พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 72 ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามระเบียบหรือข้อบังคับตามมาตรา 16 (3) ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 16 ให้อธิบดีมีอำนาจ (1) กำหนดแบบแสดงรายการและแบบพิมพ์อื่น ( 2) แต่งตั้งเจ้าพนักงานประเมินและเจ้าพนักงานอื่น (3) กำหนดระเบียบหรือข้อบังคับให้ผู้เสียภาษีหรือผู้ทำการแทนทำบัญชี หลักฐาน รายงาน หรือทำการใด ๆ ตามความจำเป็นเพื่อประโยชน์ในการจัดเก็บและการเสียภาษี การแต่งตั้งเจ้าพนักงานตาม (2) และการกำหนดระเบียบหรือข้อบังคับตาม (3) ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 72 ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามระเบียบหรือข้อบังคับตามมาตรา 16 (3) ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ", "section_num": "72" } ]
บัญชี หลักฐาน รายงาน หรือทำการใด ๆ ตามความจำเป็นเพื่อประโยชน์ในการจัดเก็บและการเสียภาษี
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 16 ให้อธิบดีมีอำนาจ\n(1) กำหนดแบบแสดงรายการและแบบพิมพ์อื่น\n(2) แต่งตั้งเจ้าพนักงานประเมินและเจ้าพนักงานอื่น\n(3) กำหนดระเบียบหรือข้อบังคับให้ผู้เสียภาษีหรือผู้ทำการแทนทำบัญชี หลักฐาน รายงาน หรือทำการใด ๆ ตามความจำเป็นเพื่อประโยชน์ในการจัดเก็บและการเสียภาษี\nการแต่งตั้งเจ้าพนักงานตาม (2) และการกำหนดระเบียบหรือข้อบังคับตาม (3) ให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา", "section_num": "16" } ]
บุคคลใดมีหน้าที่ส่งสำเนาแผนการผลิตปิโตรเลียม ผลการประกอบกิจการปิโตรเลียม แผนงานและงบประมาณประจำปี และงบบัญชีค่าใช้จ่ายและงบการเงินประจำปีดังกล่าวต่ออธิบดี ไม่เช่นนั้นจะถือว่ามีความผิดตามพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514
บริษัทซึ่งมีหน้าที่ยื่นแผนการผลิตปิโตรเลียม รายงานผลการประกอบกิจการปิโตรเลียม แผนงานและงบประมาณประจำปี และเสนองบบัญชีค่าใช้จ่ายและงบการเงินประจำปี คำอธิบาย พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 72/1 ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา 18/1 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 18/1 ให้บริษัทซึ่งมีหน้าที่ยื่นแผนการผลิตปิโตรเลียม รายงานผลการประกอบกิจการปิโตรเลียม แผนงานและงบประมาณประจำปี และเสนองบบัญชีค่าใช้จ่ายและงบการเงินประจำปี ตามมาตรา 42 ทวิ มาตรา 76 และมาตรา 77 แห่งพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 ต้องส่งสำเนาแผนการผลิตปิโตรเลียม ผลการประกอบกิจการปิโตรเลียม แผนงานและงบประมาณประจำปี และงบบัญชีค่าใช้จ่ายและงบการเงินประจำปีดังกล่าวต่ออธิบดี ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกำหนด
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 72/1 ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา 18/1 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ", "section_num": "72/1" } ]
บริษัทซึ่งมีหน้าที่ยื่นแผนการผลิตปิโตรเลียม รายงานผลการประกอบกิจการปิโตรเลียม แผนงานและงบประมาณประจำปี และเสนองบบัญชีค่าใช้จ่ายและงบการเงินประจำปี
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 18/1 ให้บริษัทซึ่งมีหน้าที่ยื่นแผนการผลิตปิโตรเลียม รายงานผลการประกอบกิจการปิโตรเลียม แผนงานและงบประมาณประจำปี และเสนองบบัญชีค่าใช้จ่ายและงบการเงินประจำปี ตามมาตรา 42 ทวิ มาตรา 76 และมาตรา 77 แห่งพระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 ต้องส่งสำเนาแผนการผลิตปิโตรเลียม ผลการประกอบกิจการปิโตรเลียม แผนงานและงบประมาณประจำปี และงบบัญชีค่าใช้จ่ายและงบการเงินประจำปีดังกล่าวต่ออธิบดี ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกำหนด", "section_num": "18/1" } ]
เงินใดที่ผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ​ที่จ่ายไม่ดำเนินการถือว่ามีความผิดตามพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514
เงินค่าสิทธิ เงินปี หรือเงินได้ประจำเนื่องจากการโอนกิจการปิโตรเลียม คำอธิบาย พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 73 ผู้ใดไม่หักภาษี ณ ที่จ่าย ซึ่งตนมีหน้าที่หักตามมาตรา 45 ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองพันบาท พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 45 ให้บริษัทซึ่งเป็นผู้จ่ายเงินได้ตามมาตรา 21 มีหน้าที่ (1) หักภาษีไว้ ณ ที่จ่ายทุกคราวที่จ่ายเงินได้นั้นในอัตราตามมาตรา 21 (2) ยื่นแบบแสดงรายการหักภาษี ณ ที่จ่าย (3) นำส่งภาษีที่ต้องหักตาม (1) การหักภาษีตาม (1) ให้คำนวณหักตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 21 ในกรณีที่มีการโอนกิจการปิโตรเลียม ถ้าบริษัทผู้รับโอนจ่ายเงินได้ที่เป็นเงินค่าสิทธิ เงินปี หรือเงินได้ประจำเนื่องจากการโอนนั้น โดยเงินดังกล่าวไม่อาจกำหนดจำนวนทั้งสิ้นได้แน่นอน ให้บุคคลซึ่งได้รับเงินได้นั้นมีหน้าที่เสียภาษีเงินได้ในอัตราที่กำหนดโดยพระราชกฤษฎีกาซึ่งต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 แต่ไม่เกินร้อยละ 60 ของเงินได้หลังจากหักต้นทุนตามมาตรา 33 แล้ว
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 73 ผู้ใดไม่หักภาษี ณ ที่จ่าย ซึ่งตนมีหน้าที่หักตามมาตรา 45 ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองพันบาท", "section_num": "73" } ]
เงินค่าสิทธิ เงินปี หรือเงินได้ประจำเนื่องจากการโอนกิจการปิโตรเลียม
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 45 ให้บริษัทซึ่งเป็นผู้จ่ายเงินได้ตามมาตรา 21 มีหน้าที่\n(1) หักภาษีไว้ ณ ที่จ่ายทุกคราวที่จ่ายเงินได้นั้นในอัตราตามมาตรา 21\n(2) ยื่นแบบแสดงรายการหักภาษี ณ ที่จ่าย\n(3) นำส่งภาษีที่ต้องหักตาม (1)\nการหักภาษีตาม (1) ให้คำนวณหักตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่กำหนดในกฎกระทรวง", "section_num": "45" } ]
บุคคลใดมีความผิดตามพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514เมื่อไม่นำส่งภาษีหัก ณ ที่จ่าย
ผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย คำอธิบาย พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 74 ผู้ใดมีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย หักภาษีไว้แล้วละเลยไม่นำส่งตามหมวด 5 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 74 ผู้ใดมีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย หักภาษีไว้แล้วละเลยไม่นำส่งตามหมวด 5 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ", "section_num": "74" } ]
ผู้มีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย
[]
หากไม่ปฏิบัติตามหมายเรียกหรือคำสั่งของเจ้าพนักงานประเมินเพื่อมาให้ถ้อยคำ ถือว่ามีความผิดตามพระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 75 หรือไม่
มีความผิดตาม พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 75 คำอธิบาย พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 75 ผู้ใดโดยไม่มีเหตุอันสมควรไม่ปฏิบัติตามหมายเรียกหรือคำสั่งของเจ้าพนักงานประเมินที่ออกตามมาตรา 58 หรือไม่ยอมตอบคำถามของเจ้าพนักงานซึ่งมีอำนาจไต่สวน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 58 ในการดำเนินการตามมาตรา 56 หรือมาตรา 57 เจ้าพนักงานประเมินมีอำนาจ (1) ออกหมายเรียกผู้มีหน้าที่ยื่นแบบแสดงรายการเงินได้หรือแบบแสดงรายการหักภาษี ณ ที่จ่ายและออกหมายเรียกพยานมาให้ถ้อยคำ (2) ออกคำสั่งให้ผู้มีหน้าที่ยื่นแบบแสดงรายการเงินได้หรือแบบแสดงรายการหักภาษี ณ ที่จ่ายและออกคำสั่งให้พยานตอบคำถามเป็นหนังสือ หรือส่งบัญชีหลักฐาน รายงานหรือเอกสารอื่นอันควรแก่กรณีมาตรวจสอบไต่สวน ทั้งนี้ ต้องให้เวลาแก่ผู้รับหมายเรียกหรือคำสั่งไม่น้อยกว่าเจ็ดวันนับแต่วันได้รับหมายเรียกหรือคำสั่งนั้น
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 75 ผู้ใดโดยไม่มีเหตุอันสมควรไม่ปฏิบัติตามหมายเรียกหรือคำสั่งของเจ้าพนักงานประเมินที่ออกตามมาตรา 58 หรือไม่ยอมตอบคำถามของเจ้าพนักงานซึ่งมีอำนาจไต่สวน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ", "section_num": "75" } ]
มีความผิดตาม พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 75
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 58 ในการดำเนินการตามมาตรา 56 หรือมาตรา 57 เจ้าพนักงานประเมินมีอำนาจ\n(1) ออกหมายเรียกผู้มีหน้าที่ยื่นแบบแสดงรายการเงินได้หรือแบบแสดงรายการหักภาษี ณ ที่จ่ายและออกหมายเรียกพยานมาให้ถ้อยคำ\n(2) ออกคำสั่งให้ผู้มีหน้าที่ยื่นแบบแสดงรายการเงินได้หรือแบบแสดงรายการหักภาษี ณ ที่จ่ายและออกคำสั่งให้พยานตอบคำถามเป็นหนังสือ หรือส่งบัญชีหลักฐาน รายงานหรือเอกสารอื่นอันควรแก่กรณีมาตรวจสอบไต่สวน\nทั้งนี้ ต้องให้เวลาแก่ผู้รับหมายเรียกหรือคำสั่งไม่น้อยกว่าเจ็ดวันนับแต่วันได้รับหมายเรียกหรือคำสั่งนั้น", "section_num": "58" } ]
หากผู้ถือหุ้นของนั้นๆได้สั่งการจนเป็นเหตุให้นิติบุคคลนั้นกระทำบุคคล ถือว่ามีความผิดตามประมวลรัษฎากรหรือไม่
ไม่มีความผิด ยกเว้นในกรณีที่หุ้นส่วนบริษัทนั้นๆเป็นกรรมการหรือผู้จัดการ หรือบุคคลใดซึ่งรับผิดชอบในการดำเนินงานของบริษัทนั้น หรือมีหน้าที่ต้องสั่งการหรือกระทำการและละเว้นไม่สั่งการหรือไม่กระทำการจนเป็นเหตุให้บริษัทนั้นกระทำความผิด คำอธิบาย พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 76 ในกรณีที่บริษัทใดกระทำความผิด ถ้าการกระทำความผิดของบริษัทนั้นเกิดจากการสั่งการหรือการกระทำของกรรมการ หรือผู้จัดการ หรือบุคคลใด ซึ่งรับผิดชอบในการดำเนินงานของบริษัทนั้น หรือในกรณีที่บุคคลดังกล่าวมีหน้าที่ต้องสั่งการหรือกระทำการและละเว้นไม่สั่งการหรือไม่กระทำการจนเป็นเหตุให้บริษัทนั้นกระทำความผิด ผู้นั้นต้องรับโทษตามที่บัญญัติไว้สำหรับความผิดนั้น ๆ ด้วย
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 76 ในกรณีที่บริษัทใดกระทำความผิด ถ้าการกระทำความผิดของบริษัทนั้นเกิดจากการสั่งการหรือการกระทำของกรรมการ หรือผู้จัดการ หรือบุคคลใด ซึ่งรับผิดชอบในการดำเนินงานของบริษัทนั้น หรือในกรณีที่บุคคลดังกล่าวมีหน้าที่ต้องสั่งการหรือกระทำการและละเว้นไม่สั่งการหรือไม่กระทำการจนเป็นเหตุให้บริษัทนั้นกระทำความผิด ผู้นั้นต้องรับโทษตามที่บัญญัติไว้สำหรับความผิดนั้น ๆ ด้วย", "section_num": "76" } ]
ไม่มีความผิด ยกเว้นในกรณีที่หุ้นส่วนบริษัทนั้นๆเป็นกรรมการหรือผู้จัดการ หรือบุคคลใดซึ่งรับผิดชอบในการดำเนินงานของบริษัทนั้น หรือมีหน้าที่ต้องสั่งการหรือกระทำการและละเว้นไม่สั่งการหรือไม่กระทำการจนเป็นเหตุให้บริษัทนั้นกระทำความผิด
[]
ในกรณีที่อธิบดีเห็นว่าผู้ต้องหาไม่ควรต้องรับโทษถึงจำคุก ผู้ต้องหาต้องชำระค่าประบภายในกี่วัน หากไม่ชำระค่าปรับตามเวลาที่กำหนดหรือไม่ยินยอมจะเกิดผลอย่างไร
ภายใน 30 วัน ถ้าชำระจะส่งผลให้คดีนั้นเป็นอันสิ้นสุด แต่ถ้าในกรณีที่ผู้ต้องหาไม่ยินยอมตามที่เปรียบเทียบ หรือเมื่อยินยอมแล้วไม่ชำระค่าปรับภายในกำหนดเวลาดังกล่าว ให้ดำเนินคดีเพื่อฟ้องร้องต่อไป คำอธิบาย พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 77 ความผิดตามมาตรา 67 ถึงมาตรา 70 และมาตรา 72 ถึงมาตรา 76 ถ้าอธิบดีเห็นว่าผู้ต้องหาไม่ควรต้องรับโทษถึงจำคุก ให้มีอำนาจเปรียบเทียบกำหนดค่าปรับได้ เมื่อผู้ต้องหาได้ชำระค่าปรับตามจำนวนที่อธิบดีกำหนดภายในสามสิบวัน คดีนั้นเป็นอันเสร็จเด็ดขาด ถ้าผู้ต้องหาไม่ยินยอมตามที่เปรียบเทียบ หรือเมื่อยินยอมแล้วไม่ชำระค่าปรับภายในกำหนดเวลาดังกล่าว ให้ดำเนินคดีเพื่อฟ้องร้องต่อไป
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 77 ความผิดตามมาตรา 67 ถึงมาตรา 70 และมาตรา 72 ถึงมาตรา 76 ถ้าอธิบดีเห็นว่าผู้ต้องหาไม่ควรต้องรับโทษถึงจำคุก ให้มีอำนาจเปรียบเทียบกำหนดค่าปรับได้ เมื่อผู้ต้องหาได้ชำระค่าปรับตามจำนวนที่อธิบดีกำหนดภายในสามสิบวัน คดีนั้นเป็นอันเสร็จเด็ดขาด\nถ้าผู้ต้องหาไม่ยินยอมตามที่เปรียบเทียบ หรือเมื่อยินยอมแล้วไม่ชำระค่าปรับภายในกำหนดเวลาดังกล่าว ให้ดำเนินคดีเพื่อฟ้องร้องต่อไป", "section_num": "77" } ]
ภายใน 30 วัน ถ้าชำระจะส่งผลให้คดีนั้นเป็นอันสิ้นสุด แต่ถ้าในกรณีที่ผู้ต้องหาไม่ยินยอมตามที่เปรียบเทียบ หรือเมื่อยินยอมแล้วไม่ชำระค่าปรับภายในกำหนดเวลาดังกล่าว ให้ดำเนินคดีเพื่อฟ้องร้องต่อไป
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 67 ผู้ใดไม่ยื่นแบบแสดงรายการเงินได้ หรือแบบแสดงรายการหักภาษี ณ ที่จ่าย เพื่อหลีกเลี่ยงหรือพยายามหลีกเลี่ยงการเสียหรือการนำส่งภาษี ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ", "section_num": "67" }, { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 68 ผู้ใดไม่อำนวยความสะดวกหรือขัดขวางเจ้าพนักงานซึ่งกระทำการตามหน้าที่ตามมาตรา 6 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ", "section_num": "68" }, { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 69 ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของอธิบดีตามมาตรา 7 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ", "section_num": "69" }, { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 70 ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของอธิบดีหรือเจ้าพนักงานประเมินตามมาตรา 9 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ", "section_num": "70" }, { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 72 ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามระเบียบหรือข้อบังคับตามมาตรา 16 (3) ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ", "section_num": "72" }, { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 72/1 ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา 18/1 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือนหรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ", "section_num": "72/1" }, { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 73 ผู้ใดไม่หักภาษี ณ ที่จ่าย ซึ่งตนมีหน้าที่หักตามมาตรา 45 ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองพันบาท", "section_num": "73" }, { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 74 ผู้ใดมีหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่าย หักภาษีไว้แล้วละเลยไม่นำส่งตามหมวด 5 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหกพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ", "section_num": "74" }, { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 75 ผู้ใดโดยไม่มีเหตุอันสมควรไม่ปฏิบัติตามหมายเรียกหรือคำสั่งของเจ้าพนักงานประเมินที่ออกตามมาตรา 58 หรือไม่ยอมตอบคำถามของเจ้าพนักงานซึ่งมีอำนาจไต่สวน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินหนึ่งเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ", "section_num": "75" }, { "law_name": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514", "section_content": "พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514 มาตรา 76 ในกรณีที่บริษัทใดกระทำความผิด ถ้าการกระทำความผิดของบริษัทนั้นเกิดจากการสั่งการหรือการกระทำของกรรมการ หรือผู้จัดการ หรือบุคคลใด ซึ่งรับผิดชอบในการดำเนินงานของบริษัทนั้น หรือในกรณีที่บุคคลดังกล่าวมีหน้าที่ต้องสั่งการหรือกระทำการและละเว้นไม่สั่งการหรือไม่กระทำการจนเป็นเหตุให้บริษัทนั้นกระทำความผิด ผู้นั้นต้องรับโทษตามที่บัญญัติไว้สำหรับความผิดนั้น ๆ ด้วย", "section_num": "76" } ]
ผู้ใดเป็นผู้มีอำนาจรับผิดชอบในการดำเนินกิจการของสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535", "section_content": "พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 มาตรา 23 ให้เลขาธิการเป็นผู้บังคับบัญชาพนักงานและลูกจ้าง และรับผิดชอบในการดำเนินกิจการทั้งปวงของสำนักงาน\nในการดำเนินกิจการ เลขาธิการต้องรับผิดชอบต่อคณะกรรมการ ก.ล.ต.", "section_num": "23" } ]
เลขาธิการสำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์
[]
หนังสือที่บริษัทมหาชนต้องส่งให้พวกกรรมการ หรือผู้ถือหุ้น ส่งทางเมลได้ไหม
ได้ แต่ หากบุคคลที่เป็นกรรมการ ผู้ถือหุ้นหรือคนอื่นที่ต้องได้หนังสือสำคัญต้องแจ้งความประสงค์หรือยินยอมให้ส่งหนังสือหรือเอกสารโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ เช่นอีเมล ไลน์ ไว้ก่อนว่าให้บริษัทหรือคณะกรรมการอาจส่งหนังสือหรือเอกสารนั้นโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ก็ได้ ทั้งนี้ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่นายทะเบียนกำหนด ตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 มาตรา 7/1
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535", "section_content": "พระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 มาตรา 7/1 ในกรณีที่บริษัทหรือคณะกรรมการมีหน้าที่ต้องส่งหนังสือหรือเอกสารตามพระราชบัญญัตินี้ให้แก่กรรมการ ผู้ถือหุ้น หรือเจ้าหนี้ของบริษัท หากบุคคลดังกล่าวได้แจ้งความประสงค์หรือยินยอมให้ส่งหนังสือหรือเอกสารโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ บริษัทหรือคณะกรรมการอาจส่งหนังสือหรือเอกสารนั้นโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ก็ได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่นายทะเบียนกำหนด", "section_num": "7/1" } ]
ได้ แต่ หากบุคคลที่เป็นกรรมการ ผู้ถือหุ้นหรือคนอื่นที่ต้องได้หนังสือสำคัญต้องแจ้งความประสงค์หรือยินยอมให้ส่งหนังสือหรือเอกสารโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ เช่นอีเมล ไลน์ ไว้ก่อนว่าให้บริษัทหรือคณะกรรมการอาจส่งหนังสือหรือเอกสารนั้นโดยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ก็ได้ ทั้งนี้ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่นายทะเบียนกำหนด ตามพระราชบัญญัติบริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 มาตรา 7/1
[]
ความผิดตามพระราชบัญญัติหลักประกันทางธุรกิจ เสียค่าปรับได้ไหม
ได้ ไม่โดนคดีอาญา เป็นการเปรียบเทียบปรับ บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ให้คณะกรรมการเปรียบเทียบซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งมีอำนาจเปรียบเทียบได้ ทั้งนี้ คณะกรรมการเปรียบเทียบซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้ง ให้มีจำนวนสามคนและคนหนึ่งต้องเป็นพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เมื่อผู้ต้องหาได้ชำระเงินค่าปรับตามจำนวนที่เปรียบเทียบภายในระยะเวลาที่กำหนดแต่ไม่เกิน 30 วันแล้ว ให้ถือว่าคดีเลิกกันตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติหลักประกันทางธุรกิจ พ.ศ. 2558", "section_content": "พระราชบัญญัติหลักประกันทางธุรกิจ พ.ศ. 2558 มาตรา 91 บรรดาความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ ให้คณะกรรมการเปรียบเทียบซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งมีอำนาจเปรียบเทียบได้ ทั้งนี้ คณะกรรมการเปรียบเทียบซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้ง ให้มีจำนวนสามคนและคนหนึ่งต้องเป็นพนักงานสอบสวนตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา\nเมื่อผู้ต้องหาได้ชำระเงินค่าปรับตามจำนวนที่เปรียบเทียบภายในระยะเวลาที่กำหนดแต่ไม่เกินสามสิบวันแล้ว ให้ถือว่าคดีเลิกกันตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา", "section_num": "91" } ]
ได้ ไม่โดนคดีอาญา เป็นการเปรียบเทียบปรับ
[]
หากทรัพย์สินของลูกค้ามีไม่เพียงพอกับหนี้ที่ลูกค้ามีอยู่ ผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าต้องทำอย่างไร
ผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้ามีสิทธิขอรับชำระหนี้ในการฟื้นฟูกิจการหรือในคดีล้มละลายของลูกค้าสำหรับหนี้ที่ยังไม่ได้รับชำระหนี้ ตามพระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 มาตรา 40 ในการดำเนินการตามมาตรา 37 หากทรัพย์สินของลูกค้ามีไม่เพียงพอกับหนี้ที่ลูกค้ามีอยู่กับผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ให้ผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้ามีสิทธิขอรับชำระหนี้ในการฟื้นฟูกิจการหรือในคดีล้มละลายของลูกค้าสำหรับหนี้ที่ยังไม่ได้รับชำระหนี้ ทั้งนี้ ต้องยื่นขอรับชำระหนี้ภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ในมาตรา 90/26 หรือมาตรา 91 แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช 2483 แล้วแต่กรณี
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546", "section_content": "พระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 มาตรา 40 ในการดำเนินการตามมาตรา 37 หากทรัพย์สินของลูกค้ามีไม่เพียงพอกับหนี้ที่ลูกค้ามีอยู่กับผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า ให้ผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้ามีสิทธิขอรับชำระหนี้ในการฟื้นฟูกิจการหรือในคดีล้มละลายของลูกค้าสำหรับหนี้ที่ยังไม่ได้รับชำระหนี้ ทั้งนี้ ต้องยื่นขอรับชำระหนี้ภายในระยะเวลาที่กำหนดไว้ในมาตรา 90/26 หรือมาตรา 91 แห่งพระราชบัญญัติล้มละลาย พุทธศักราช 2483 แล้วแต่กรณี", "section_num": "40" } ]
ผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้ามีสิทธิขอรับชำระหนี้ในการฟื้นฟูกิจการหรือในคดีล้มละลายของลูกค้าสำหรับหนี้ที่ยังไม่ได้รับชำระหนี้.
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546", "section_content": "พระราชบัญญัติสัญญาซื้อขายล่วงหน้า พ.ศ. 2546 มาตรา 37 ในกรณีที่ศาลมีคำสั่งรับคำร้องขอให้ฟื้นฟูกิจการของลูกค้าไว้เพื่อพิจารณาหรือศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ในคดีล้มละลาย ให้เจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์แจ้งให้ผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าและสำนักงาน ก.ล.ต. ทราบโดยไม่ชักช้า และให้ผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าดำเนินการดังต่อไปนี้\n(1) ล้างฐานะสัญญาซื้อขายล่วงหน้าของลูกค้าที่คงค้างอยู่ ณ วันที่ศาลมีคำสั่งรับคำร้องขอให้ฟื้นฟูกิจการหรือมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ตามที่กำหนดไว้ในกฎเกณฑ์ของสำนักหักบัญชีสัญญาซื้อขายล่วงหน้า\n(2) บังคับชำระหนี้เอากับทรัพย์สินของลูกค้าไม่ว่าทรัพย์สินนั้นจะเก็บรักษาโดยผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าเอง หรือผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าได้นำไปวางหรือฝากไว้กับบุคคลอื่น สำหรับหนี้ที่เกี่ยวกับหรือเนื่องจากการซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้าที่ทำก่อนหรือในวันที่ศาลมีคำสั่งรับคำร้องขอให้ฟื้นฟูกิจการหรือวันที่ศาลมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ หรือหนี้ที่เกิดขึ้นเนื่องจากการล้างฐานะสัญญาซื้อขายล่วงหน้าของลูกค้าตาม (1)\nในการนำทรัพย์สินของลูกค้าออกขายเพื่อการชำระหนี้ หากทรัพย์สินนั้นเป็นหลักทรัพย์ ให้ผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าขายในตลาดที่ซื้อขายหลักทรัพย์นั้นเป็นปกติ หากไม่สามารถขายในตลาดนั้นได้ ให้นำออกขายโดยวิธีการอื่นที่สามารถทำให้ได้ราคาที่เป็นธรรมแก่ลูกค้า\n(3) นำหนี้ที่เกี่ยวกับหรือเนื่องจากการซื้อขายสัญญาซื้อขายล่วงหน้าของลูกค้าที่ทำขึ้นก่อนหรือในวันที่ศาลมีคำสั่งรับคำร้องขอให้ฟื้นฟูกิจการหรือมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์หรือหนี้ที่เกิดขึ้นเนื่องจากการล้างฐานะสัญญาซื้อขายล่วงหน้าของลูกค้าตาม (1) มาหักกลบลบหนี้กับหนี้ที่ผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าเป็นหนี้ลูกค้าอยู่ในเวลาที่ศาลมีคำสั่งรับคำร้องขอให้ฟื้นฟูกิจการหรือมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์ แม้ว่ามูลแห่งหนี้ทั้งสองฝ่ายจะไม่มีวัตถุเป็นอย่างเดียวกัน หรือเป็นหนี้ที่มีเงื่อนไขหรือเงื่อนเวลา หรือผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าได้สิทธิเรียกร้องดังกล่าวมาภายหลังที่ศาลมีคำสั่งให้ฟื้นฟูกิจการหรือมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์\nในกรณีที่หนี้ที่ลูกค้ามีอยู่ต่อผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าเป็นหนี้ที่อยู่ในเงื่อนไขบังคับก่อน เมื่อผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าขอหักกลบลบหนี้ ผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้าจะต้องให้ประกันสำหรับจำนวนที่ขอหักกลบลบหนี้นั้นแก่บุคคลผู้มีอำนาจหน้าที่จัดการทรัพย์สินของลูกค้าตามกฎหมายว่าด้วยล้มละลาย", "section_num": "37" } ]
พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542 ให้ใช้บังคับเมื่อใด
เมื่อพ้นกำหนดเก้าสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542 มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดเก้าสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542", "section_content": "พระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542 มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดเก้าสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป", "section_num": "2" } ]
เมื่อพ้นกำหนดเก้าสิบวันนับแต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
[]
ใครกำหนดว่าธุรกิจใดเป็นธุรกิจหลักทรัพย์
คณะกรรมการ ก.ล.ต.มีอำนาจประกาศกำหนดให้การประกอบกิจการในลักษณะใดลักษณะหนึ่งไม่เป็นธุรกิจหลักทรัพย์ตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 มาตรา4/1 ให้คณะกรรมการ ก.ล.ต.มีอำนาจประกาศกำหนดให้การประกอบกิจการในลักษณะใดลักษณะหนึ่งไม่เป็นธุรกิจหลักทรัพย์ตามพระราชบัญญัตินี้
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535", "section_content": "พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 มาตรา4/1 ให้คณะกรรมการ ก.ล.ต.มีอำนาจประกาศกำหนดให้การประกอบกิจการในลักษณะใดลักษณะหนึ่งไม่เป็นธุรกิจหลักทรัพย์ตามพระราชบัญญัตินี้", "section_num": "4/1" } ]
คณะกรรมการ ก.ล.ต.มีอำนาจประกาศกำหนดให้การประกอบกิจการในลักษณะใดลักษณะหนึ่งไม่เป็นธุรกิจหลักทรัพย์ตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535
[]
ผู้ขนส่งสามารถหักเงินค่าระวางพาหนะและค่าอุปกรณ์จากการเอาของออกขายทอดตลาด ได้หรือไม่
ได้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 632 เมื่อเอาของออกขายทอดตลาดแล้วได้เงินจำนวนสุทธิเท่าใด ให้ผู้ขนส่งหักเอาไว้เป็นเงินค่าระวางพาหนะและค่าอุปกรณ์ ถ้าและยังมีเงินเหลืออยู่อีกเท่าใดต้องส่งมอบให้แก่บุคคลผู้ควรที่จะได้เงินนั้นโดยพลัน
[ { "law_name": "ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์", "section_content": "ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 632\nเมื่อเอาของออกขายทอดตลาดแล้วได้เงินจำนวนสุทธิเท่าใด ให้ผู้ขนส่งหักเอาไว้เป็นเงินค่าระวางพาหนะและค่าอุปกรณ์ ถ้าและยังมีเงินเหลืออยู่อีกเท่าใดต้องส่งมอบให้แก่บุคคลผู้ควรที่จะได้เงินนั้นโดยพลัน", "section_num": "632" } ]
ได้
[]
ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลที่ได้ประกอบธุรกิจที่ต้องขออนุญาตอยู่ก่อนที่จะมีการประกาศใช้กฎหมาย ต้องดำเนินการอย่างไร
หากจะดำเนินกิจการต่อไป ให้ยื่นคำขออนุญาตภายใน 90 วันนับแต่วันที่กฎหมายนี้มีผลใช้บังคับ ตามพระราชกำหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 มาตรา 100 ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลที่ได้ประกอบธุรกิจอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชกำหนดนี้ใช้บังคับและเป็นธุรกิจที่ต้องขออนุญาตตามพระราชกำหนดนี้ หากจะดำเนินกิจการต่อไปให้ยื่นคำขออนุญาตตามที่บัญญัติไว้ในพระราชกำหนดนี้ ภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่พระราชกำหนดนี้มีผลใช้บังคับ และเมื่อได้ยื่นคำขออนุญาตแล้ว ให้ดำเนินกิจการต่อไปได้จนกว่าจะมีคำสั่งไม่อนุญาต
[ { "law_name": "พระราชกำหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561", "section_content": "พระราชกำหนดการประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัล พ.ศ. 2561 มาตรา 100 ผู้ประกอบธุรกิจสินทรัพย์ดิจิทัลที่ได้ประกอบธุรกิจอยู่ในวันก่อนวันที่พระราชกำหนดนี้ใช้บังคับและเป็นธุรกิจที่ต้องขออนุญาตตามพระราชกำหนดนี้ หากจะดำเนินกิจการต่อไปให้ยื่นคำขออนุญาตตามที่บัญญัติไว้ในพระราชกำหนดนี้ ภายในเก้าสิบวันนับแต่วันที่พระราชกำหนดนี้มีผลใช้บังคับ และเมื่อได้ยื่นคำขออนุญาตแล้ว ให้ดำเนินกิจการต่อไปได้จนกว่าจะมีคำสั่งไม่อนุญาต", "section_num": "100" } ]
ให้ยื่นคำขออนุญาตภายใน 90 วันนับแต่วันที่กฎหมายนี้มีผลใช้บังคับ
[]
พนักงานที่ทำหน้าที่ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ ต้องเข้าไปในสถานที่ต่าง ๆ เพื่อตรวจสอบในช่วงเวลาใด
ในระหว่างเวลาพระอาทิตย์ขึ้นจนถึงพระอาทิตย์ตก หรือในเวลาทำการของสถานที่นั้น แต่ถ้ายังดำเนินการไม่เสร็จ จะกระทำต่อไปในเวลากลางคืนหรือนอกเวลาทำการของสถานที่นั้นก็ได้ ตามพระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 มาตรา 264 ระบุช่วงเวลาในการดำเนินการดังกล่าวของพนักงานเจ้าหน้าที่ว่าต้องเป็นในระหว่างเวลาพระอาทิตย์ขึ้นจนถึงพระอาทิตย์ตก หรือในเวลาทำการของสถานที่นั้น แต่อย่างไรก็ตาม ถ้ายังดำเนินการไม่เสร็จ จะกระทำต่อไปในเวลากลางคืนหรือนอกเวลาทำการของสถานที่นั้นก็ได้
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535", "section_content": "พระราชบัญญัติหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พ.ศ. 2535 มาตรา 264 ในการปฏิบัติหน้าที่ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจดังต่อไปนี้\n(1) เข้าไปในสถานที่ประกอบธุรกิจหรือสถานที่ตั้งของบริษัทหลักทรัพย์ผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนรวมผู้รับฝากทรัพย์สิน ตลาดหลักทรัพย์ ศูนย์ซื้อขายหลักทรัพย์ สำนักหักบัญชี ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ นายทะเบียนหลักทรัพย์ หรือสถานที่ซึ่งรวบรวมหรือประมวลข้อมูลของบริษัทหลักทรัพย์ หรือสถาบันดังกล่าวด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์หรือด้วยเครื่องมืออื่นใดในระหว่างเวลาพระอาทิตย์ขึ้นจนถึงพระอาทิตย์ตก หรือในเวลาทำการของสถานที่นั้นเพื่อตรวจสอบกิจการ สินทรัพย์และหนี้สินของบริษัทหลักทรัพย์ หรือสถาบันดังกล่าว รวมทั้งเอกสาร หลักฐาน หรือข้อมูลเกี่ยวกับบริษัทหลักทรัพย์ หรือสถาบันดังกล่าว\n(2) เข้าไปในสถานที่ประกอบธุรกิจของผู้เริ่มจัดตั้งบริษัทมหาชนจำกัด บริษัทที่ออกหลักทรัพย์หรือเจ้าของหลักทรัพย์ที่เสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชนหรือบุคคลใด ๆ หรือสถานที่ซึ่งรวบรวมหรือประมวลข้อมูลของบุคคลดังกล่าวด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์หรือด้วยเครื่องมืออื่นใด ในระหว่างเวลาพระอาทิตย์ขึ้นจนถึงพระอาทิตย์ตก หรือในเวลาทำการของสถานที่นั้น เพื่อตรวจสอบสมุดบัญชีหรือเอกสารหลักฐานอื่นที่เกี่ยวข้อง\n(3) เข้าไปในธนาคารพาณิชย์ สถาบันการเงิน หรือสถานที่ใดในระหว่างเวลาพระอาทิตย์ขึ้นจนถึงพระอาทิตย์ตก หรือในเวลาทำการของสถานที่นั้นเพื่อทำการตรวจสอบสมุดบัญชี เอกสาร หรือหลักฐานที่อาจเกี่ยวข้องกับการกระทำอันเป็นความผิดตามพระราชบัญญัตินี้\n(4) ยึดหรืออายัดเอกสารหรือหลักฐานที่เกี่ยวข้องกับการกระทำความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ เพื่อประโยชน์ในการตรวจสอบหรือดำเนินคดี\n(5) สั่งให้กรรมการ พนักงาน ลูกจ้าง หรือผู้สอบบัญชีของบริษัทหลักทรัพย์ กองทุนรวม ผู้ดูแลผลประโยชน์ของกองทุนรวม ผู้รับฝากทรัพย์สิน ตลาดหลักทรัพย์ ศูนย์ซื้อขายหลักทรัพย์ สำนักหักบัญชี ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์ นายทะเบียนหลักทรัพย์ และผู้รวบรวมหรือประมวลข้อมูลของบริษัทหลักทรัพย์ หรือสถาบันดังกล่าวด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือเครื่องมืออื่นใดมาให้ถ้อยคำหรือส่งสำเนา หรือแสดงสมุดบัญชี เอกสาร ดวงตรา หรือหลักฐานอื่นเกี่ยวกับกิจการ การดำเนินงานสินทรัพย์และหนี้สินของบริษัทหลักทรัพย์หรือสถาบันดังกล่าว\n(6) สั่งให้บุคคลใด ๆ ที่ซื้อหรือขายหลักทรัพย์กับหรือผ่านบริษัทหลักทรัพย์หรือสมาชิกของตลาดหลักทรัพย์ หรือศูนย์ซื้อขายหลักทรัพย์มาให้ถ้อยคำหรือส่งสำเนาหรือแสดงสมุดบัญชี เอกสาร และหลักฐานอื่นเกี่ยวกับการซื้อหรือขายหลักทรัพย์\n(7) สั่งให้บุคคลใด ๆ ที่จะเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่มาให้ถ้อยคำ หรือส่งสำเนาหรือแสดงสมุดบัญชี เอกสาร หลักฐาน หรือวัตถุใดที่เกี่ยวข้องหรือจำเป็นแก่การปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่\n(8) เข้าไปตรวจสอบฐานะหรือการดำเนินงานในสถานที่ประกอบธุรกิจของลูกหนี้ของบริษัทหลักทรัพย์ ในระหว่างเวลาพระอาทิตย์ขึ้นจนถึงพระอาทิตย์ตก หรือในเวลาทำการของสถานที่นั้น\nในการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามวรรคหนึ่ง ให้บุคคลที่เกี่ยวข้องอำนวยความสะดวกตามสมควร\nเมื่อได้เข้าไปและลงมือทำการตรวจสอบตาม (1) (2) (3) หรือ (8) แล้ว ถ้ายังดำเนินการไม่เสร็จ จะกระทำต่อไปในเวลากลางคืนหรือนอกเวลาทำการของสถานที่นั้นก็ได้\nการใช้อำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม (6) (7) และ (8) จะต้องเป็นการกระทำต่อบุคคลที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับเรื่องที่ดำเนินการตรวจสอบ และต้องได้รับความเห็นชอบจากสำนักงานก่อนและในกรณีตาม (6) และ (7) พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องกำหนดระยะเวลาอันสมควรที่จะให้บุคคลดังกล่าวสามารถปฏิบัติตามคำสั่งได้", "section_num": "264" } ]
ในระหว่างเวลาพระอาทิตย์ขึ้นจนถึงพระอาทิตย์ตก หรือในเวลาทำการของสถานที่นั้น แต่ถ้ายังดำเนินการไม่เสร็จ จะกระทำต่อไปในเวลากลางคืนหรือนอกเวลาทำการของสถานที่นั้นก็ได้
[]
บริษัทจำกัดใดออกใบหุ้นชนิดออกให้แก่ผู้ถือโดยฝ่าฝืนกฎหมายมีโทษอย่างไร
มีความผิดทางพินัยต้องชำระค่าปรับเป็นพินัยไม่เกินสองหมื่นบาท
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติกำหนดความผิดเกี่ยวกับห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด สมาคม และมูลนิธิ พ.ศ. 2499", "section_content": "พระราชบัญญัติกำหนดความผิดเกี่ยวกับห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด สมาคม และมูลนิธิ พ.ศ. 2499 มาตรา 9 บริษัทจำกัดใดออกใบหุ้นชนิดออกให้แก่ผู้ถือโดยฝ่าฝืนมาตรา 1134 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มีความผิดทางพินัยต้องชำระค่าปรับเป็นพินัยไม่เกินสองหมื่นบาท*", "section_num": "9" } ]
มีความผิดทางพินัยต้องชำระค่าปรับเป็นพินัยไม่เกินสองหมื่นบาท
[ { "law_name": "ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์", "section_content": "ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 1134\nใบหุ้นออกให้แก่ผู้ถือนั้น จะออกได้ก็แต่เมื่อมีข้อบังคับของบริษัทอนุญาตไว้ และจะออกให้ได้แต่เฉพาะเพื่อหุ้นซึ่งได้ใช้เต็มค่าแล้ว ในกรณีเช่นว่านี้ ผู้ทรงใบหุ้นชนิดระบุชื่อย่อมมีสิทธิจะได้รับใบหุ้นชนิดออกให้แก่ผู้ถือ เมื่อเวนคืนใบหุ้นชนิดระบุชื่อนั้นให้ขีดฆ่าเสีย", "section_num": "1134" } ]
ผู้ใดมีอำนาจกำหนดประเภทธุรกิจ ระยะเวลา หรือเงื่อนไขเพื่อให้นายจ้างหรือลูกจ้างหยุดหรือเลื่อนส่งเงินสะสมและเงินสมทบเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพในช่วงที่เกิดวิกฤตเศรษฐกิจได้
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ตามพระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 มาตรา 10/1 ในกรณีที่มีวิกฤตเศรษฐกิจ สาธารณภัย หรือเหตุการณ์ที่ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังมีอำนาจกำหนดประเภทธุรกิจ ระยะเวลา หรือเงื่อนไขต่าง ๆเพื่อให้ลูกจ้างหรือนายจ้างหยุดหรือเลื่อนการส่งเงินสะสมหรือเงินสมทบเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพได้คราวละไม่เกิน 1 ปี และต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดด้วย
[ { "law_name": "พระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530", "section_content": "พระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ พ.ศ. 2530 มาตรา 10/1 ในกรณีที่รัฐมนตรีเห็นว่าท้องที่หนึ่งท้องที่ใดเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ สาธารณภัย หรือเหตุการณ์ใดที่ส่งผลกระทบต่อสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ ให้รัฐมนตรีมีอำนาจกำหนดประเภทธุรกิจ ระยะเวลา หรือเงื่อนไขใด เพื่อให้ลูกจ้างหรือนายจ้างหยุดหรือเลื่อนการส่งเงินสะสมหรือเงินสมทบเข้ากองทุนได้คราวละไม่เกินหนึ่งปี ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ที่รัฐมนตรีประกาศกำหนด", "section_num": "10/1" } ]
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
[]